ครั้งที่4
วันที่ 8 กรกฎาคม 2553
การแบ่งประเภทสื่อ
1. ตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รัจากสื่อ
2. ตามลักษณะของสื่อ หรือ วิธีการใช้
ตามแนวคิดของ เฮ็ดการ์ เดล
กล่าวถึงกรวย 11 กลุ่ม คือ
- ประสบการณ์ตรง => เป็นรูปธรรม ลงมือกระทำจากวัตถุ
ของจริง ประสาทสัมผัสทั้ง 5 - ประสบการณ์รอง => เรียนจากสิ่งใกล้เคียง ความเป็นจริงที่สุด เช่น ผลไม้จำรอง
- ประสบการนาฏการ หรือ การแสดง => เป็นการแสดงบทบาทสมมุติ หรือ การแสดงละคร
- การสาธิต => เป็นการแสดงหรือการกระทำประกอบคำอธิบาย เพื่อให้เด็กเห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
- การศึกานอกสถานที่ => เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆภายนอกห้องเรียน เช่น การไปเที่ยว
- นิทรรศการ => เป็นการจัดแสดงสิ่งต่างๆ เช่น การจัดป้ายนิเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และให้ความรู้ให้แก่ผู้ชม
- โทรทัศน์ => เพื่อให้ความรู้แก่ผู้เรียนที่อยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้าน ใช้ส่งในระบบวงจรเปิด เช่น การเรียนรู้ผ่านดาวเทียมโรงเรียนวังไกลกังวล
- ภาพยนต์ => บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ลงบนแผ่นฟิล์ม
- การบันทึกเสียง =>แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง
- ทัศนสัญลักษณ์ =>แผนที่ แผนสถิติ เครื่องหมายต่างๆ
- วจนสัญลักษณ์ => เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่ ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด
ตามแนวคิดของ บรูเนอร์
- การกระทำ (Enactive)
- กลุ่มภาษา (Iconic)
- กลุ่มนามธรรม (Abstracs)
สรุป :P
- เลือกสื่อการสอนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
- เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
- เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
- เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับจับนวนของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน
- เลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
- เลือกสื่อการสอนที่มีลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจ
- เลือกสื่อการสอนที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษาและบำรุงรักษาได้สะดวก
เป้าหมายของการเรียนการสอน
- พุทธิพิสัย -> สมอง
- ทักษะพิสัย -> การเคลื่อนไหว,ร่างกาย
- จิตตพิสัย -> ความรู้สึกของแต่ละบุคคล (เจตตพิสัย => จิตใจ)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น